top of page

ธรรมาภิบาลกับการป้องกันการคอร์รัปชั่น

Good Governance and  Anti Corruption

หมวดที่ 1. ข้อมูลโดยทั่วไป

1. รหัสและชื่อรายวิชา : ธรรมาภิบาลกับการป้องกันการคอร์รัปชั่น (Good Governance and  Anti Corruption)

2. จำนวนหน่วยกิต : 3(3-0-6)

3. หลักสูตร และประเภทรายวิชา หมวดวิชาศึกษาทั่วไป

4. อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชา : ดร.นิรัตน์  เพชรรัตน์

                                        ผศ.ดร.ณกมล ปุญชเขตต์ทิกุล

                                        ผศ.ดร.ประจักษ์ ไม้เจริญ

                                        ดร.อรุณ  ไชยนิตย์

5. ระดับการศึกษา / ชั้นปีที่เรียน : ปริญญาตรี ภาคการศึกษาที่  2  ชั้นปีที่ 1 และ ปีที่ 2

6. รายวิชาที่ต้องเรียนมาก่อน (Pre-requisite) (ถ้ามี) : ไม่มี

7. รายวิชาที่ต้องเรียนพร้อมกัน (Co-requisites) (ถ้ามี) : ไม่มี

8. สถานที่เรียน : มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร

9. วันที่จัดทำรายละเอียดของรายวิชา หรือวันที่มีการปรับปรุงครั้งล่าสุด : -

หมวดที่ 2 จุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค์

1. จุดมุ่งหมายของรายวิชา 

ด้านความรู้

          เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับความหมายของธรรมาภิบาลกับคอร์รัปชั่น  ความสำคัญ  ลักษณะประเภทรูปแบบของธรรมมาภิบาลกับการคอร์รัปชั่นของโลก  สังคมไทย  ปัจจัย สาเหตุ ที่ก่อให้เกิดการทุจริต  ผลกระทบของการทุจริต ผลประโยชน์ทับซ้อน  การเสริมสร้างคุณธรรมจริยธรรม การป้องกันการทุจริต บทบาทของพลเมืองในระบบประชาธิปไตย

ด้านทักษะกระบวนการ

          เพื่อให้นักศึกษาได้เรียนรู้ มีความเข้าใจสามารถประยุกต์ใช้กระบวนการคิดทางด้านธรรมาภิบาลในการทำงานดำเนินชีวิตในสังคมอย่างปลอดภัย

ด้านคุณลักษณะที่พึงประสงค์

          เพื่อให้นักศึกษาได้มีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม ในมิติด้านความซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา เสียสละ ยอมรับกฎเกณฑ์ กติกาของสังคม ตลอดจนยอมรับความคิดเห็นของบุคคลอื่น

2. วัตถุประสงค์ในการพัฒนา/ปรับปรุงรายวิชา : 

          1. เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักธรรมาภิบาลในการดำเนินชีวิตตลอดจนเข้าใจลักษณะรูปแบบของการทุจริตสังคม และสังคมไทย

          2. เพื่อให้มีทักษะในการจัดการหลักธรรมาภิบาลอย่างถูกต้องตามกระบวนการ

          3. เพื่อสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการศึกษาตลอดจนการประกอบอาชีพ

          4. เพื่อให้รู้เท่าทันต่อความเปลี่ยนแปลงของสังคมโลก

หมวดที่ 3 ส่วนประกอบของรายวิชา

1. คำอธิบายรายวิชา

          ศึกษาความหมาย  รูปแบบ  ลักษณะ  แนวคิ ด ทฤษฎี  การบริหารจัดการหลักธรรมาภิบาลและการต่อต้านการคอร์รัปชั่น ภาครัฐ เอกชน จิตสำนึกความเป็นพลเมือง ในระบบการปกครองประชาธิปไตย ระบบอุปถัมภ์  

2. จำนวนชั่วโมงที่ใช้/ภาคการศึกษา :

3. ระบุวันเวลาที่อาจารย์จะให้คำปรึกษาและแนะนำทางวิชาการแก่นักศึกษาเป็นรายบุคคล :

          วัน พุธ เวลา 13.00-16.30 น.

หมวดที่ 4 การพัฒนาผลการเรียนรู้ของนักศึกษา

(เลือก ˜ / ™ / - อันใดอันหนึ่งให้สอดคล้องกับ Mapping แล้วลบที่เหลือออก)

หมายเหตุ (˜ = ความรับผิดชอบหลัก / ™ = ความรับผิดชอบรอง / - = ไม่กำหนดผลการเรียนรู้)

หมวดที่ 5 แผนการสอนและการประเมินผล

แผนการสอน

แผนการประเมินผลการเรียนรู้

หมวดที่ 6 ทรัพยากรประกอบการเรียน

นิรัตน์ เพชรรัตน์ และคณะ (2559).เอกสารประกอบการสอนวิชาธรรมาภิบาลกับการป้องกันการคอร์รัปชั่น.

กฎกระทรวงแบงสวนราชการกรมการปกครองกระทรวงมหาดไทย พ.ศ. 2545. (2545, 9 ตุลาคม). ราชกิจจานุเบกษา. เลม 119 (ตอนที่ 103 ก), หนา 183 - 189.

กรมการปกครอง. (2550). รายงานผลการดําเนินงาน. นครพนม: ที่ทําการปกครองอําเภอเมือง นครพนม.

กัลยา เนติประวัติ. (2544). การยอมรับรูปแบบการจัดองคการทางสังคมแบบใหมตามหลักการ บริหารกิจการบานเมืองและสังคมที่ดีในองคกรภาครัฐ :

                                 ศึกษาเฉพาะกรณีสํานักงาน ปลัดกระทรวงสาธารณสุข. วิทยานิพนธ์ ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาสังคมวทยาประยุกต์, บัณฑิตวิทยาลัย

                                 มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

เฉลิมชัย สมทา. (2547). การบริหารโดยใชหลักธรรมาภิบาลของผูบริหารสถานศึกษาตาม ความคิดเห็นของครูผู้ปฏิบัติการสอนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาเขต 1.

                              รายงานการศึกษาอิสระ ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา, บัณฑิตวิทยาลยั มหาวิทยาลยขอนแก่น.

ชัยอนันต สมุทวณิช. (2541). Good Governance กับการปฏิรูปการศึกษา - การปฏิรูปการเมือง. ม.ป.ท.

ชาติชาย นรเศรษฐาภรณ. (2545). ธรรมาภิบาลในความหมายของภาครัฐเอกชน และประชาชน : กรณีโรงไฟฟาพลังความรอนถานหิน “หินกรูด”.

                                          วิทยานิพนธ์รัฐศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขารัฐศาสตร, คณะรัฐศาสตรจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.

ธีรยุทธ บุญมี. (2541). ธรรมรัฐแหงชาติยุทธศาสตรกับหายนะประเทศไทย . กรุงเทพฯ: สายธาร.

นฤมล ทับจุมพล. (2541). แนวคดและวาทกรรมว่าด้วย “ธรรมรัฐแหงชาติ” ในการจัดการปกครอง(Governance). บรรณาธิการ.

บุษบง ชัยเจริญวิวัฒนะ และบุญมี ลี้ (2546). รายงานการวิจัยตัวชี้วัดธรรมาภิบาล. (พิมพครั้งที่2) กรุงเทพฯ: สถาบันพระปกเกลา

bottom of page